วันจันทร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 17 วันพุธ ที่ 30 พฤศจิกายน 2559 เวลาเรียน 09.30-12.00 น.

เป็นการเรียนครั้งสุดท้าย
อ.ได้พูดคุยเรื่องข้อสอบและรูปเล่มโครงการ หลังจากนั้นเป็นการตรวจใบปั๊มการมาเรียน










ประเมินอาจารย์
อ.พูดคุยอย่างสนุกสาน

ประเมินเพื่อน
เนื่องจากรวมทั้ง 2 เซค ทำให้ มีการพูดคุยเสียงดังบ้างบางครั้ง แต่ทุกคนก็ตั้งใจฟังอ.เป็นอย่างดี

ประเมินตนเอง
เนื่องจากมาช้า จึงทำให้ได้รับสิ่งที่อ.สื่อสารได้น้อย

การบันทึกครั้งที่ 16 วันจันทร์ ที่ 21 พฤศจิกายน 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

ไม่มีการเรียนการสอน

การบันทึกครั้งที่ 15 วันจันทร์ ที่ 14 พฤศจิกายน 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

เนื้อหา
อ.เรียกแต่ละกลุ่มไปพูดคุยเรื่องการทำโครงการ
 สิ่งที่ต้องปรับปรุงคือสื่อ อันที่เป็นจานกระดาษที่แสดงอารมณ์ คือ ไม่ควรเจาะจงลักษณะของใบหน้า แต่ควรให้เด็กได้ออกแบบใบหน้ตามจินตนาการของตนเอง






ประเมินอาจารย์
อ.คอยปรับแก้โครงการให้สมบูรณ์

ประเมินตนเอง
ตั้งใจฟังเป็ํนบางครั้ง

ประเมินเพื่อน
ตั้งใจฟังดีและอาจมากดดันบ้างบางครั้ง เนื่องจากการทำโครงการเป็นสิ่งยาก

การบันทึกครั้งที่ 14 วันจันทร์ ที่ 7 พฤศจิกายน 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

เนื้อหา
อ.ให้ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาที่ทำโครงการ
ชื่อโครงการ ลูกน้อยอารมณ์ดี



กิจกรรมที่จะนำไปให้ผู้ปกครองทำกับลูกๆคือ
1.การเล่านิทาน
2.การให้เด็กและผู้ปกครองนำชิ้นส่วนของใบหน้ามาติดในจานกระดาษ
3.แกนกระดาษทิชชู่เปลี่ยนอารมณ์

หลังจากนั้น แต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่กันว่าจะทำส่วนไหนบ้าง




ประเมินอาจารย์
อ.คอยให้คำปรึกษาอยู่เสมอ ทำให้เข้าใจง่ายขึ้น

ประเมินตนเอง
ตั้งใจฟังอ.และตั้งใจฟังเพื่อนดี

ประเมินเพื่อน
ตั้งใจฟังกันทุกคน

การบันทึกครั้งที่ 13 วันจันทร์ ที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

อ.ให้แต่ละกลุ่มออกไปนำเสนอ ผลการทำแบบประเมินว่ามีอุปสรรคอะไรบ้าง


อุปสรรคของดิฉันคือ ผู้ปกครองเป็นผู้บกพร่องมทางการได้ยินจึงต้องคอยอธิบายบเป็นภาษามือ





หลังจากนนั้น
ให้นับความต้องการของผู้ปกครองว่าสิ่งไหนมีมากที่สุด
ผลสรุปดังนี้
1.ความซื่อสัตย์
2.อารมณ์ที่ดี
3.ความรับผิดชอบ



ประเมินอาจารย์
อ.คอยมาดูและคอยอธิบายอยู่เสมอ

ประเมินตนเอง
มีความสับสนในการบันแบบประเมินบ้างบางครั้ง

ประเมินเพื่อน
เพื่อนตั้งใจฟังและทำงานเป็นอย่างดี






การบันทึกครั้งที่ 12 วันจันทร์ ที่ 24 ตุลาคม 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

หยุดชดเชยวันปิยะมหาราช

การบันทึกครั้งที่ 11 วันจันทร์ ที่ 17 ตุลาคม 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

อ.ให้แต่ละกลุ่มออกไปให้ผู้ปกครองทำแบบประเมินนอกสถานที่

การบันทึกครั้งที่ 10 วันจันทร์ ที่ 10 ตุลาคม 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

ความรู้ที่ได้รับ
อ.ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดโดครงการที่จะให้การศึกษาผู้ปกครอง
กลุ่มของดิฉันทำโครงการเกี่ยวกับอารมณ์และสังคมเด็ก
โดยมีชื่อโรงการดังนี้
การ พัฒนาอารมณ์และสังคมเด็กสำหรับเด็กปฐมวัย



หัวข้อโครงการมีดังนี้
-ชื่อโครงการ
-หลักการและเหตุผล
-วัตถุประสงค์
-เนื้อหา
-เป้าหมาย  2 อย่างคือ 
     เป้าหมายเชิงปริมาณ
     เป้าหมายเชิงคุณภาพ
-วัน เวลาและสถานที่จัดโครงการ
-รูปแบบการจัดโครงการ
-แผนการดำเนินงาน
 PDCA
-งบประมาณ
-ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-การติดตามและประเมินโครงการ
-ผู้รับผิดชอบโครงการ


หลังจากนั้นอ.ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอโครงการของกลุ่มตัวเอง



ประเมินอาจารย์
อ.ให้นักศึกษาได้คิดเองและคอยอธิบายเพิ่มเติม

ประเมินตนเอง
ตั้งใจช่วยเพื่อนคิดและออกไปนำเสนอ

ประเมินเพื่อน
ตั้งใจฟังและตั้งใจทำเป็นอย่างดี

การบันทึกครั้งที่ 9 วันจันทร์ ที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

อ.ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอวิจัย ที่ให้แต่ละกลุ่มหามา
วิจัย
กลุ่มที่1 การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย สำหรับผู้ปกครองจังหวัดมหาสารคาม
กลุ่มที่2 การพัฒนาและการประเมินการใช้โปรแกรมการให้ความรู้ผู้ปกครองไทยในการส่งเสริมทักษะทางการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษด้วยภาษาแบบโฟนิกส์
กลุ่มที่3 ความสัมพัรธ์ระหว่างการให้ความรู้ผู้ปกครองกับความรู้ผู้ปกครองในการสร้างเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
กลุ่มที่4 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของผู้ปกครองกับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียน
กลุ่มที่5ความสัมพัรธ์ระหว่างการให้ความรู้ผู้ปกครองกับความรู้ผู้ปกครองในการสร้างเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
และอ.ให้ส่งแผ่นพับของตนเอง
ประเมินอาจารย์
อ.คอยอธิบายเพิ่มเติมในสิ่งที่เพื่อนนำเสนอ
ประเมินตนเอง
ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอเป็นอย่างดี
ประเมินเพื่อน
เพื่อนตั้งใจนำเดสนอและตั้งใจฟังเป็นอย่างดี



การบันทึกครั้งที่ 8 วันจันทร์ ที่ 26 กันยายน 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

สอบกลางภาค

การบันทึกครั้งที่ 7 วันจันทร์ ที่ 19 กันยายน 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

บทที่ 5 รูปแบบการให้ความรู้ผู้ปกครองในสถานศึกษา
รูปแบบการให้ความรู้ผู้ปกครองระดับชั้นเรียน
-ข่าวสารประจำสัปดาห์
ตัวอย่าง 






-จดหมายข่าวและกิจกรรม

-ป้ายนิเทศให้ความรู้ผู้ปกครอง
ตัวอย่าง


-การสนทนา

รูปแบบการให้ความรู้ผู้ปกครองระดับสถานศึกษา
-ห้องสมุดผู้ปกครอง
-ป้ายนิเทศ
-นิทรรศการ
-มุมผูปกครอง
-การประชุม
-จุลสาร
-คู่มือผู้ปกครอง
หลังจากนั้นอ.ให้นักศึกษาลองออกแบบจดหมายข่าว และ กิจกรรม เป็น แผ่บพับ



เพื่อนนำเสนอแผ่นพับของตนเอง


คำถามท้ายบท 
1. รูปแบบการให้ความรู้ผู้ปกครองระดับชั้นเรียน ครูประจำชั้นควรพิจารณาในการเลือกใช้รูปแบบใดบ้าง 
จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง
ตอบ
2. รูปแบบการให้ความรู้ผู้ปกครองระดับสถานศึกษามีรูปแบบใดบ้าง จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง
ตอบ 
3.นักศึกษามีวิธีการหรือแนวทางแก้ปัญหาผู้ปกครองที่ไม่ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมโครงการหรือ
กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครอง จงอธิบาย
ตอบ 
4. การจัดกิจกรรมการให้ความรู้ผู้ปกครองมีความสำคัญและจำเป็นอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ
5. รูปแบบการให้ความรู้ผู้ปกครองที่มีประสิทธิภาพ มีลักษะของรูปแบบอย่างไร จงอธิบายพร้อมแสดง
ความคิดเห็น
ตอบ
การะประยุกต์ใช้
ใช้ในการทำแผ่บพับ ให้ความรู้ผู้ปกครอง
ประเมินอาจารย์
อ.สอนการทำแผ่นพับทำให้เราเข้าใจการทำมากยิ่งขึ้น
ประเมินตนเอง
ใจเรียนดีแต่บางครั้งอาจไม่สนใจบ้าง
ประเมินเพื่อน
ตั้งใจเรียนกันทุกคน

การบันทึกครั้งที่ 6 วันจันทร์ ที่ 12 กันยายน 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

อ.ติดภารกิจสำคัญ

การบันทึกครั้งที่ 5 วันจันทร์ ที่ 5 กันยายน 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

บทที่ 4 โครงการการให้ความรู้ผู้ปกครองในและต่างประเทศ
โครงการ การให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในประเทศไทย
-โครงการแม่สอนลูก
-โครงการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในเด็กไทย
-โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างความเข็มแข็งของครอบครัว “บ้านล้อมรัก”
-โครงการหนังสือเล่มแรก
-โครงการพัฒนาเด็กโดยครอบครัว
โครงการ การให้ความรู้ผู้ปกครองในต่างประเทศ
-โครงการ การให้ความรู้พ่อแม่ผู้ปกครองในประเทศอิสราเอล
-โครงการศูนย์ส่งเสริมประสบการณ์เด็กปฐมวัย ที่เรียกว่า ALEH  (Early Childhood Enrichment Center)
-โครงการเสนอแนะให้แม่สอนลูก เลี้ยงลูกอย่างไรให้ถูกวิธี
-โครงการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับผู้ปกครองและเด็ก
-โครงการให้ความรู้ผู้ปกครองในประเทศสหรัฐอเมริกา
-โครงการศูนย์ข้อมูลพ่อแม่ 
-โครงการ เฮดสตาร์ท (Head Start)
-โครงการ Brooklyne Early Childhood
-โครงการให้ความรู้พ่อแม่ผู้ปกครองประเทศออสเตรเลีย
-โครงการ บุ๊คสตาร์ทในประเทศอังกฤษ (Bookstart UK)
ถุงบุ๊คสตาร์ท
ภายในถุงประกอบด้วย
-หนังสือที่ได้รับการคัดสรรแล้ว 2 เล่ม
-หนังสือแนะนำพ่อแม่ด้วยภาพเกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็กและโยงไปถึงการเลี้ยงดูด้วยหนังสือ
-ของชำร่วยสำหรับเด็ก เช่น ผ้ารองจานฯลฯ
-แผนที่แนะนำห้องสมุดแถวละแวกบ้าน
-บัตรสมาชิกห้องสมุดสำหรับเด็ก
-รายชื่อหนังสือสำหรับเด็ก
รายชื่อศูนย์สนับสนุนคุณแม่เลี้ยงลูก
-โครงการ บุ๊คสตาร์ทในประเทศญี่ปุ่น (Bookstart Japan)
คำถามท้ายบท
1. ในการดำเนินโครงการให้ความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองทั้งในและต่างประเทศมีเป้าหมายร่วมกันอย่างไร
ตอบ ให้พ่อแม่เข้าใจในการอบรมเลี่ยงดูลูก
2.นักศึกษามีแนวคิดอย่างไรที่จะสนับสนุนให้โครงการการให้ความรู้ผู้ปกครองประสบผลสำเร็จอย่างเป็น
รูปธรรม จงอธิบาย 
ตอบ ให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
3.ในฐานะที่นักศึกษาจะเป็นผู้ที่ให้ความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยในอนาคต จงยกตัวอย่างของ
องค์ความรู้หรือเรื่องที่ต้องการจะถ่ายทอดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครองเพื่อใช้ในการเลี้ยงดูเด็ก มา 5 เรื่อง
พร้อมอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ 
ตอบ 1.พัฒนาการแต่ละช่วงวัย 
         2.การเลี้ยงดูเด็กแต่ละช่วงวัย
      3.สมรรถนะของเด็ก ตัวอย่าง เด็กแต่ละช่วงวันสามารถทำอะไรได้บ้าง เช่น เด็กอายุ3ปี วาดรูปเป็นวงกลมได้
         4.การพัฒนาเด็ก การเล่านิทาน การเล่นของเล่นร่วมกับลูก 
         5.สื่อ เช่น นิทาน ดินน้ำมัน ของเล่นต่างๆ
4.การให้ความรู้ผู้ปกครองสามารถส่งผลต่อพฤติกรรมเด็กหรือไม่อย่างไร  จงอธิบาย
ตอบ ส่งผล เพราะเมื่อผู้ปกครองเข้าใจพัฒนาการของเด้กก้ทำให้ผู้ปกครองเลี้ยงดุและอบรมเด้กได้ง่าย
ยิ่งขึ้น
5. นักศึกษาจะมีวิธีในการติดตามผลการให้ความรู้ผู้ปกครองอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ ให้ผู้ปกครองบันทึกแบบสังเกตพฤติกรรมของเด็กเป็นรายสัปดาห์

โครงการbookstart 

ประยุกต์ใช้
นำโครงการบางส่วนมากใช้ในอนาคต
ประเมินอาจารย์
อ.คอยอธิบายเพิ่มเติมทำให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น
ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี
ประเมินเพื่อน
ตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี

การบันทึกครั้งที่ 4 วันจันทร์ ที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

ความหมายของการสื่อสาร
การสื่อสาร  (Communication) คือ กระบวน การส่งข่าวสาร ข้อมูล จากผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร
ความสำคัญของการสื่อสาร 
1.ทำให้ได้รับรู้และเข้าใจถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคม

2.ทำให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันทั้ง 2 ฝ่าย
รูปแบบของการสื่อสาร
รูปแบบการสื่อสารของอริสโตเติล 
ผู้พูด > คำพูด > ผู้ฟัง
รูปแบบการสื่อสารของลาล์สเวล


รูปแบบการสื่อสารของแชนนอนและวีเวอร์

องค์ประกอบของการสื่อสาร
1. ผู้ส่งข่าวสาร (Sender)
2. ข้อมูลข่าวสาร (Message)
3. สื่อในช่องทางการสื่อสาร (Media)
4. ผู้รับข่าวสาร (Receivers)
5. ความเข้าใจและการตอบสนอง
สื่อ
การนำเสนอในรูปแบบต่างๆ โดยมีตัวกลางที่เรียกว่าสื่อ
สาร
คือ เรื่องราวที่รับรู้ร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็น  ข้อเท็จจริง ข้อแนะนำมนุษย์จะแสดงออกมาให้เป็นที่รับรู้ได้ 
วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
1. เพื่อแจ้งให้ทราบ หมายถึง การสื่อสารที่ผู้ส่งสารจะแจ้ง หรือบอกกล่าวข่าวสาร ข้อมูล เหตุการณ์ 
ความคิด ความต้องการของตนให้ผู้รับได้ทราบ
2. เพื่อสอนหรือให้การศึกษา หมายถึง การสื่อสารที่มุ่งจะให้ผู้รับมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้าน
องค์ความรู้ ความคิด สติปัญญา ฉะเพาะ
ประเภทของการสื่อสาร
โดยอาศัยเกณฑ์ในการจำแนกที่สำคัญ  3 ประการ คือ
1. จำแนกตามกระบวนการหรือการไหลของข่าวสาร
2. จำแนกตามภาษาสัญลักษณ์ที่แสดงออก
 3. จำแนกตามจำนวนผู้สื่อสาร
คำถามท้ายบท
1.จงอธิบายความหมายและความสำคัญของการสื่อสารมาโดยสังเขป
ตอบ กระบวนการส่งข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ / ทำให้เข้าใจทั้งสองฝ่าย
2.การสื่อสารมีความสำคัญกับผู้ปกครองอย่างไร
ตอบ  ทำให้โดรงเรียนและผู้ปกครองเข้าใจตรงกันในรูปแบบการสอน
3.รูปแบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในการให้ความรู้ผู้ปกครอง ควรเป็นรูปแบบใด จงอธิบายพร้อมยก
ตัวอย่าง
ตอบ รูปแบบการสื่อสารของอริสโตเติล 
ผู้พูด > คำพูด > ผู้ฟัง  เช่น ครู > พูดเรื่าองพัฒนาการแต่ละช่วงวัย > ผู้ปกครอง
4.ธรรมชาติละการเรียนรู้ของผู้ปกครองควรมีลักษณะอย่างไร
ตอบ 
1.เรียนรู้ได้ดีในเรื่องของการพัฒนาเด็ก
2.เรียนรู้ได้ดีในสภาพแวดล้อมที่มีความสมานฉันท์
3.มีความแปลกใหม่และมีประโยชน์ต่อเด็ก
5.ปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนพฤติกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้ปกครอง เพื่อให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจ
เกี่ยวกับศึกษาของเด็ก ประกอบด้วยปัจจัยด้านใดบ้าง
ตอบ 7ปัจจัย คือ
1.ความพร้อม
2.ความต้องการ
3.ความถนัด
4.การจูงใจ
5.การเสริมแรง
6.ทัศนคติและความสนใจ
7.อารมณ์และการปรับตัว
การประยุกต์
ทำให้เข้าใจธรรมชาติของผู้ปกครองและจะได้นำไปสื่อสารได้ง่ายยิ่งขึ้น
ประเมินอาจารย์
สอนได้ดีสนุกสนาน
ประเมินตนเอง
ต้องใจฟังบ้างบางครั้ง
ประเมินเพื่อน
ตั้งใจฟังเป็นอย่างดี


การบันทึกครั้งที่ 3 วันจันทร์ ที่ 22 สิงหาคม 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

อ.ติดราชการ

การบันทึกครั้งที่ 2 วันจันทร์ ที่ 15 สิงหาคม 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

ความรู้ที่ได้รับ
ความหมาย
Linda  Bierstecker, 1992  กล่าวว่า การให้การศึกษาแก่ผู้ปกครอง (parent education)  หมายถึง การให้ผู้ปกครองได้เข้าใจว่าเด็กได้ทำกิจกรรมอะไรที่โรงเรียนอนุบาลหรือศูนย์เด็ก เพื่อให้ผู้ปกครองได้เข้าใจวิธีการที่จะช่วยเหลือเพื่อส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้
ความสำคัญ
1. เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาของเด็ก
2.เป็นการให้ผู้ปกครองได้เข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ของตนเองที่มีต่อการศึกษาของเด็ก
3.ช่วยให้การศึกษาเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้เข้าใจถึงวิธีการในการอบรมเลี้ยงดูเด็กและให้การศึกษาแก่เด็ก
2. เพื่อให้ความรู้และวิธีการในการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ให้แก่เด็ก
3. เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวการศึกษาของเด็กที่โรงเรียนเพื่อให้ที่บ้านเข้าใจตรงกัน
รูปแบบการให้การศึกษา
มี2แบบคือ
- การให้ความรู้แบบทางการ (formal)  เช่น การบรรยาย  การอภิปราย การโต้วาที ฯลฯ
-การให้ความรู้แบบไม่เป็นทางการ (informal) เช่น การระดมสมอง การประชุมโต๊ะกลม 
แนวปฏิบัติของสถานศึกษา
1.รับฟังความคิดเห็นและความรู้สึกที่ผู้ปกครองมีกับลูก
2.ขณะที่พูดคุยกับผู้ปกครองเด็ก ไม่ใช้เป็นการพูดถึงเด็กในทางที่ไม่ดีเท่านั้น แต่ควรพูดถึงในสิ่งที่ดี
3.ควรหลีกเลี่ยงคำอธิบายหรือใช้คำศัพท์ทางวิชาการในการอธิบายพูดคุยกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง
คำถามท้ายบท
1.การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบันการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองมีความสำคัญอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ เพื่อให้ผู้ปกครองได้รับข้อมูลในการเลี้ยงลูกได้ดียิ่งขึ้น
2. ในสถานศึกษาปฐมวัยสามารถดำเนินกิจกรรมการให้ความรู้ผู้ปกครองในลักษณะหรือรูปแบบใดบ้าง
จงอธิบาย
ตอบ ประชุม บรรยาย อภิปราย
3. นักศึกษามีแนวคิดอย่างในการใช้บ้านเป็นฐานของการให้ความรู้ผู้ปกครอง 
ตอบ เป็นการจัดกิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองถึงที่บ้าน
4. องค์ความรู้ที่จำเป็นในการให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยเกี่ยวข้องกับเรื่องใดบ้าง
ตอบ พัฒนาการ การเลี้ยงดู
การประยุกต์ใช้
ใช้รูปแบบการให้ความรู้ที่หลากหลาย
ประเมินอาจารย์
อ.สอนได้เข้าใจและอธิบายอยู่เสมอ
ประเมินตนเอง
ตั้งใจฟังบ้าง 
ประเมินเพื่อน
ตั้งใจฟังเป็นอย่างดี

การบันทึกครั้งที่ 1 วันจันทร์ ที่ 8 สิงหาคม 2559 เวลาเรียน 08.30-11.30น.

ความรู้ที่ได้รับ
ผู้ปกครอง หมายถึง ผู้ที่เป็นบิดา มารดา หรือบุคคลอื่นที่มีหน้าที่อบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษา
ความสำคัญ ผู้ปกครองเป็นผู้เสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้วยความรักและความเข้าใจ
บทบาทหน้าที่ของผู้ปกครอง  
1.เป็นแบบอย่างที่ดี
2.ให้ความรักและความเข้าใจ
3.ไม่ปิดกั้นความรู้สึกของลูก
การประยุกต์ใช้
ทำให้เราได้นำความรู้ไปอธิบายให้ผู้ปกครองฟังเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของผู้ปกครอง
ประเมินอาจารย์
อ.สอนได้เข้าใจ 
ประเมินตนเอง
ตั้งใจฟังบ้างบางครั้ง
ประเมินเพื่อนฃตั้งใจฟังกันดี